Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/39
Title: The  effect  of  rhythmic  movement  training  using  a  program  BOT  for  special  children  Phitsanulok  Panyanukul  School 
ผลการฝึกการเคลื่อนไหวประกอบจังหวะโดยใช้โปรแกรม  BOT สำหรับเด็กพิเศษโรงเรียนพิษณุโลกปัญญานุกูล
Authors: Akkharadet Junkoom
อัครเดช จันทร์คุ้ม
Sumitra Rojananiti
สุมิตรา โรจนนิติ
Uttaradit Rajabhat University. faculty of Education
Keywords: เด็กบกพร่องสติปัญญา
Intellectually impaired children
Issue Date:  6
Publisher: Uttaradit Rajabhat University
Abstract: The purposes of this research were to investigate the effects of rhythmic movement training using BOT (Bruininks-Oseretsky Test) on special needs children. The target population of this research was two imbecile students, a boy with an IQ of 50 and a girl with an IQ of 39, of Phitsamulok Panyanukul School in the second semester of 2017 academic year. The instruments used were BOT program on four aspects of rhythmic movement training – speed and agility, dynamic balance, static balance, and leg strength; an efficiency test; a training record; a timed testing record, and a range of weekly tests measurement. Then the records were analyzed and the effects of pre and post-trainings were compared. The findings revealed that the rhythmic movement training using BOT (Bruininks-Oseretsky Test) for special needs children improved students’ development in all aspects including speed and agility, dynamic balance, static balance, and leg strength.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการฝึกการเคลื่อนไหวประกอบจังหวะโดยใช้โปรแกรม BOT (Bruininks–Oseretsky Test) สำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา กลุ่มประชากรเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาอยู่ในระดับ IQ ปานกลาง ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนพิษณุโลกปัญญานุกูลจำนวน 2 คน เป็นเด็กผู้ชาย 1 คน ระดับเชาวน์ปัญญา 50 และเด็กผู้หญิง 1 คน ระดับเชาวน์ปัญญา 39 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ โปรแกรม BOT ฝึกการเคลื่อนไหวประกอบจังหวะ 4 ด้าน ได้แก่ด้านการวิ่งเร็วและความคล่องตัว  ด้านการทรงตัวแบบเคลื่อนที่  ด้านการทรงตัวแบบอยู่กับที่  และด้านความแข็งแรงของขา  แบบทดสอบประสิทธิภาพ  แบบบันทึกผลการฝึกและการทดสอบโดยการจับเวลา การวัดระยะของการทดสอบรายสัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบบันทึกและเปรียบเทียบผลการฝึกทั้งก่อนและหลัง ผลการวิจัยพบว่า การใช้โปรแกรม BOT ฝึกการเคลื่อนไหวประกอบจังหวะสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาทำให้เด็กมีพัฒนาการดีขึ้นทุกด้าน ทั้งด้านการวิ่งเร็วและความคล่องตัว ด้านการทรงตัวแบบอยู่กับที่  ด้านการทรงตัวแบบเคลื่อนที่  ด้านความแข็งแรงของขา  
Description: Master of Education Program
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต
URI: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/39
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57551101424.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.