Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/23
Title: THE MODEL OF MARKETING MIX OF COMMERCIAL BUSINESS AT PHU DOO INTERNATIONAL POINT OF ENTRY UTTARADIT PROVINCE
รูปแบบส่วนประสมทางการตลาดของธุรกิจการค้า ณ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์
Authors: Tippawan Phetsuwan
ทิพวรรณ เพชรสุวรรณ
Chatchai Sucharit
ชัชชัย สุจริต
Uttaradit Rajabhat University. faculty of Management Science
Keywords: ส่วนประสมทางการตลาด
ธุรกิจการค้า
จุดผ่านแดนถาวรภูดู่
Marketing Mix
Commercial Business
Phu Doo International Point of Entry
Issue Date:  31
Publisher: Uttaradit Rajabhat University
Abstract: The purpose of this research was to investigate investment potential of trade, the level of need for developing a marketing mix, and the development of a marketing mix model for businesses at Phu Doo International Point of Entry, Uttaradit Province. This research applied mixed methods approach, integrating quantitative and qualitative data collection and analysis. The population for the quantitative research was 115 people and the data were collected by using a questionnaire. However, the sample of the qualitative research, obtained by Purposive sampling, was 17 people, and the data were collected using interviews and group discussion. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis.                   The findings reveal the following. The investment potential of trade at Phu Doo International Point of Entry, Uttaradit Province: Strengths – the location is close to the checkpoints; Weaknesses – there is a lack of marketing promotion; Opportunities – there is a transport route connected to important cities of the Lao People’s Democratic Republic; and Threats – customs are increasing. With regard to the level of need for developing a marketing mix, it was overall found to be at a high level, with the element of promotion at the highest level. Regarding the development of marketing mix model for businesses at Phu Doo International Point of Entry, Uttaradit Province, the most appropriate model found is as follows: Product – products sold here should be familiar brands, for example, Wai Wai instant noodles are best sellers, while new brand products are not popular; Price – prices should be cheaper than Uttaradit downtown market, and full truck load purchase must be very cheap; Distribution Channels –  customers prefer to buy a large number of products per purchase, so an entrepreneur should have adequate products in stock to satisfy their need; and Promotion – consumers prefer premiums to discounts.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาศักยภาพการลงทุนของธุรกิจการค้า ณ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์ ศึกษาระดับความต้องการในการพัฒนาส่วนประสมทางการตลาดของธุรกิจการค้า ณ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์ และศึกษารูปแบบส่วนประสมทางการตลาดของธุรกิจการค้า ณ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยใช้วิธีแบบผสมด้านการวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงปริมาณประชากรที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 115 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม การวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ จำนวน 17 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ศักยภาพการลงทุนของธุรกิจการค้า ณ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่าจุดแข็งของธุรกิจคือ ทำเลที่ตั้งของกิจการอยู่ใกล้จุดผ่านแดนภูดู่ จุดอ่อนคือ ขาดการส่งเสริมการตลาด โอกาสคือเป็นเส้นทางเชื่อมต่อไปยังเมืองสำคัญของสปป.ลาว อุปสรรคคือภาษีด่านศุลกากรที่เพิ่มขึ้น ระดับความต้องการในการพัฒนาส่วนประสมทางการตลาดของธุรกิจการค้า ณ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน คือ ด้านส่งเสริมการตลาดเป็นด้านที่มีความต้องการมากที่สุด รูปแบบส่วนประสมทางการตลาดของธุรกิจการค้า ณ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่เหมาะสม คือด้านผลิตภัณฑ์ สินค้าที่นำมาจำหน่ายควรเป็นยี่ห้อที่คุ้นเคยไม่นิยมสินค้าใหม่ๆ เช่น บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปควรเป็นยี่ห้อไวไวเท่านั้น ด้านราคา ราคาสินค้าควรถูกกว่าการเข้าไปซื้อในอำเภอเมือง ราคาสำหรับการซื้อสินค้าเหมาเป็นลำรถต้องถูกมาก ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ลูกค้าต้องการเลือกซื้อสินค้าในปริมาณมากต่อการซื้อใน 1 ครั้ง ผู้ประกอบการควรมีสินค้าในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าได้ ด้านส่งเสริมการตลาด ผู้บริโภคไม่ต้องการส่วนลดการค้าแต่ต้องการของแถม
Description: Master of Business Administration Program
หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
URI: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/23
Appears in Collections:Faculty of Management Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57554490107.pdf3.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.