Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/60
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKukait Dangseedaen
dc.contributorกู้เกียรติ แดงสีดาth
dc.contributor.advisorPhimphaka Thammasiten
dc.contributor.advisorพิมผกา ธรรมสิทธิ์th
dc.contributor.otherUttaradit Rajabhat University. faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-03-10T04:09:25Z-
dc.date.available2021-03-10T04:09:25Z-
dc.date.issued22/11/2020
dc.identifier.urihttp://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/60-
dc.descriptionMaster of Education Programen
dc.descriptionหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.description.abstractThe purposes of this research were to explore circumstances, seek guidelines on learning resource management of schools in the digital age under Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 1, and examine the feasibility of the guideline implementation. The population of this research was 1,756 school administrators and teachers under Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 1. The sample selected by stratified random sampling was 89 school administrators and 313 teachers. Mixed methods was applied in this research. The quantitative data were collected from an interview, while the qualitative data were obtained from a group discussion. The instruments used were a questionnaire and a focus group record form. The frequency, percentage, mean, standard deviation and content analysis were used for statistical analysis. The findings indicated that the circumstances of the learning resource management on 4 aspects, namely Plan, Do, Check, Act of schools in the digital age under Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 1, overall was at a high level. The guidelines suggest that stakeholders should take part in every step of the process following PDCA model. In addition, personnel should be encouraged and supported in improving their digital technological skills. The feasibility of the guideline implementation overall was at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ แนวทางการบริหาร และความเป็นไปได้ของการนำ  แนวทางการบริหารแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ไปปฏิบัติ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 จำนวน 1,756  คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 89 คน และครู จำนวน 313 คน รวมจำนวน 402 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิตามสัดส่วน โดยวิธีการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน เก็บข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามและเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยวิธีการสนทนากลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบบันทึกการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า สภาพการบริหารแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการวางแผน ด้านการดำเนินงาน ด้านตรวจสอบและติดตาม และด้านการสรุปรายงานผล ปรับปรุงและแก้ไขการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก สำหรับแนวทางการบริหารแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ควรให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานทุกขั้นตอนตามรูปแบบของ PDCA ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะการใช้เทคโนโลยีในยุคดิจิทัล และความเป็นไปได้ในการนำแนวทางการบริหารแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาไปปฏิบัติ ตามกระบวนการบริหารแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 ภาพรวมอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherUttaradit Rajabhat University
dc.rightsUttaradit Rajabhat University
dc.subjectแหล่งเรียนรู้th
dc.subjectยุคดิจิทัลth
dc.subjectLearning Resourcesen
dc.subjectDigital Ageen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleGuidelines on Learning Resource Management of Schoolsin the Digital Age under Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 1en
dc.titleแนวทางการบริหารแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62551140112.pdf6.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.