Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/173
Title: Model of Community Participation in Waste Management in Nangpaya Sub-District, Tapla District, Uttaradit Province 
รูปแบบการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลนางพญาอำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์
Authors: Chainarong Tongchart
ชัยณรงค์ ทองชาติ
Saranyoo Ruanjan
ศรัณยู เรือนจันทร์
Uttaradit Rajabhat University. faculty of Science and Technology
Keywords: รูปแบบการจัดการขยะ
การมีส่วนร่วม
Waste Management Model
Participation
Issue Date:  4
Publisher: Uttaradit Rajabhat University
Abstract: The objectives of this study were to analyze problems and needs in waste management; and to investigate a model of community participation in waste management in Nangpaya Sub-district, Tapla District, Uttaradit Province. The mixed method research approach was applied in this study. The study sample for qualitative research, selected through the purposive sampling method was 20 participants who were interviewed to provide information about the problems and needs of the community. A total of 120 quantitative samples were selected based on the qualifications identified with the adoption of Krejcie & Morgan table. The research instruments were a questionnaire and an interview form. The data obtained were statistically analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The results showed that the average amount of waste generated in the community was 150 grams per person per day. The most common type of waste found was compostable waste, followed by general waste and recyclable waste. 53.3 percent of the people understood waste management. The state of waste management and participation were at a moderate level. The community needed to correct their waste management behavior, awareness, and waste management system. Regarding the model of community participation in waste management in Nangpaya Sub-district, it comprised 3 steps: participatory planning, participatory implementing, and participatory monitoring and evaluation; and under 4 conditions: social capital, leadership, waste disposal operations, and participation. The study revealed that the community waste management should be motivated and promoted by related organizations and society in order to be sustainable and concrete, which can be used as a guideline for other communities and organizations, led by community leaders and responsible organizations. This will result in efficient and successful operations and will sustainably benefit the community.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการในการจัดการขยะ และศึกษารูปแบบการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลนางพญา อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูลในการศึกษาปัญหาและความต้องการของชุมชน จำนวน 20 คน โดยวิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์ และ กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณ จำนวน 120 คน โดยใช้ตารางของเครซี่และมอร์แกน โดยเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คุณสมบัติที่กำหนดไว้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา  ผลการวิจัย พบว่าในชุมชนมีปัญหาปริมาณขยะเฉลี่ย 150 กรัมต่อคนต่อวัน โดยขยะประเภทที่พบมากที่สุด คือ ขยะย่อยสลาย รองลงมาคือ ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล ประชาชนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการกำจัดขยะ ร้อยละ 53.3 สภาพการจัดการขยะอยู่ในระดับปานกลาง และการมีส่วนร่วมอยู่ในระดับปานกลาง มีความต้องการแก้ไขพฤติกรรมการจัดการขยะ ความตระหนัก และระบบการจัดการขยะ  ส่วนรูปแบบการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลนางพญา มี 3 ขั้นตอน 4 เงื่อนไข  คือ ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการวางแผน ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการดำเนินการ ขั้นตอนการมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล  ภายใต้เงื่อนไขด้านทุนทางสังคม  เงื่อนไขด้านผู้นำ  เงื่อนด้านวิธีการจัดการขยะมูลฝอย และเงื่อนไขด้านการมีส่วนร่วม ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การจัดการขยะของชุมชนควรได้รับแรงจูงใจ และการส่งเสริมสนับสนุน จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสังคม เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องเป็นรูปธรรม สามารถนำไปเป็นแนวทางวางแผนขยายผลสู่ชุมชนและหน่วยงานอื่น โดยมีผู้นำชุมชนและหน่วยงานที่รับผิดชอบเป็นแกนนำ ส่งผลให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพประสบความสำเร็จในอนาคต เกิดประโยชน์กับชุมชนอย่างยั่งยืน ต่อไป
Description: Master of Public Health Program
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต
URI: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/173
Appears in Collections:Faculty of Sciences and Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60552790101.pdf2.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.