Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/150
Title: Innovation Management Skills Influencing Decision Making to Obtain Service at Uttaradit Rajabhat University Office of Academic Resources and Information Technology
ความสามารถในการจัดการนวัตกรรมที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าใช้บริการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
Authors: Amonrat Boonyoo
อมรรัตน์ บุญอยู่
Pasiri Khetpiyarat
ภาศิริ เขตปิยรัตน์
Uttaradit Rajabhat University. faculty of Management Science
Keywords: การจัดการนวัตกรรม
การตัดสินใจ
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Management
Decision Making
Office of Academic Resources and Information Technology
Issue Date:  31
Publisher: Uttaradit Rajabhat University
Abstract: The purposes of this study were to investigate the level of innovation management skills and decision making to obtain service at Uttaradit Rajabhat University Office of Academic Resources and Information Technology, and to examine how innovation management skills influenced decision making to obtain service. The population was 7,928 personnel of Uttaradit Rajabhat University. The sample selected by purposive sampling method was 381 respondents. The instrument used was a questionnaire. The data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. The results revealed that all dimensions of innovation management skills were at a high level with process at the highest level, followed by management and service respectively. In addition, all dimensions of decision making were at a high level with behavior after obtaining service at the highest level, followed by alternative evaluation, decision making to obtain service, and perception of need respectively. Furthermore, the innovation management skills influencing decision making to obtain service at Uttaradit Rajabhat University Office of Academic Resources and Information Technology was statistically significant at 0.01 level. It was found that the management innovation was at the highest level, followed by process innovation, and service innovation at the lowest level, which explained the forecast of 81.60 percent decision making in obtaining a service.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์  เพื่อศึกษาระดับความสามารถในการจัดการนวัตกรรม และการตัดสินใจเข้าใช้บริการของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ และศึกษาความสามารถในการจัดการนวัตกรรมที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าใช้บริการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ จำนวน 7,928 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 381 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการจัดการนวัตกรรม อยู่ในระดับมากทุกรายการ โดยอันดับสูงสุด คือ ด้านกระบวนการ รองลงมา คือ ด้านการบริหารจัดการ และด้านการบริการเป็นอันดับสุดท้าย และการตัดสินใจ อยู่ในระดับมากทุกรายการ ด้านพฤติกรรมภายหลังการเข้าใช้บริการเป็นอันดับสูงสุด รองลงมา คือ ด้านการประเมินผลทางเลือกกับด้านการตัดสินใจเข้าใช้บริการ และด้านการรับรู้ถึงความต้องการเป็นอันดับสุดท้าย สำหรับความสามารถในการจัดการนวัตกรรม ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าใช้บริการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการ ส่งผลต่อต่อการตัดสินใจ มากที่สุด รองลงมา คือ นวัตกรรมด้านกระบวนการ และนวัตกรรมด้านการบริการอันดับสุดท้าย ซึ่งอธิบายค่าพยากรณ์ของการตัดสินใจเข้าใช้บริการ ได้ร้อยละ 81.60
Description: Master of Business Administration Program
หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
URI: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/150
Appears in Collections:Faculty of Management Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61553490206.pdf5.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.