Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/87
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPnin Maksireerinen
dc.contributorผณินทร์ มาคสิรีรินทร์th
dc.contributor.advisorSukunya Rujimethabhasen
dc.contributor.advisorสุกัญญา รุจิเมธาภาสth
dc.contributor.otherUttaradit Rajabhat University. faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-05-02T13:34:43Z-
dc.date.available2021-05-02T13:34:43Z-
dc.date.issued14/5/2021
dc.identifier.urihttp://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/87-
dc.descriptionMaster of Education Programen
dc.descriptionหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.description.abstractThe purposes of this research were to develop, examine effectiveness, and study student satisfaction of learning management on “Use of Geographic Tools for Living” through brain based learning and community based learning. The population of this research was 192 Prathomsuksa 3 students of Uttaradit Rajabhat University Demonstration School. The sample selected by cluster random sampling method was 47 Prathomsuksa 3/3 students in the second semester of 2019 academic year. The instruments used were an activity manual, a skill test, an achievement test, and a satisfaction survey. The mean, standard deviation and t-test were the parameters used for statistical analysis. The findings revealed that the appropriateness of the content and the manual of the learning management on “Use of Geographic Tools for Living” for Prathomsuksa 3 students through brain based learning and community based learning was ranked at the highest level. Furthermore, the effectiveness of the learning management was 82.00/82.24 which met the 80/80 set criteria. The learning achievement of the students after learning was statistically significantly higher than the 80% set criteria at 0.01. In addition, the student satisfaction was at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ และศึกษาความพึงพอใจต่อผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับชุมชนเป็นฐาน ประชากร คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ จำนวน 192 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3/3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 47 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ คู่มือการจัดกิจกรรม แบบทดสอบวัดทักษะ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เรื่อง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการดำรงชีวิต สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับชุมชนเป็นฐาน มีค่าความเหมาะสมของเนื้อหาและคู่มือการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด และผลการศึกษาการจัดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.00/82.24 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังการใช้การจัดการเรียนรู้สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 และความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherUttaradit Rajabhat University
dc.rightsUttaradit Rajabhat University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectสมองเป็นฐานth
dc.subjectชุมชนเป็นฐานth
dc.subjectLearning Managementen
dc.subjectBrain Based Learningen
dc.subjectCommunity Based Learningen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleDevelopment of Learning Management on the Use of Geographic Tools for  Living for Prathomsuksa 3 Students Through Brain Based Learning and Community Based Learningen
dc.titleการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เรื่อง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการดำรงชีวิตสำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับชุมชนเป็นฐานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61551101211.pdf10.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.