Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/85
Title: Guidelines on Management Development for Libraries in Educational Opportunity Expansion Schools under Uttaradit Primary Educational Service Area Office 2
แนวทางการพัฒนาการบริหารงานห้องสมุดโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์เขต 2
Authors: Praewnapa Rungraungchotisakul
แพรวนภา รุ่งเรืองโชติสกุล
Vajee Panyasai
วจี ปัญญาใส
Uttaradit Rajabhat University. faculty of Education
Keywords: แนวทางการบริหารงาน
การบริหารงานห้องสมุด
โรงเรียนขยายโอกาส
Management Guideline
Library Service
Educational Opportunity Expansion School
Issue Date:  14
Publisher: Uttaradit Rajabhat University
Abstract: The purposes of this research were to explore problems and develop guidelines on library management of educational opportunity expansion schools under Uttaradit Primary Educational Service Area Office 2.  The population of this research was 25 school administrators, 50 Academic teachers and 25 teacher librarians from 25 educational opportunity expansion schools under Uttaradit Primary Educational Service Area Office 2. The instruments used was a questionnaire. The frequency, percentage, mean and standard deviation were the parameters used for statistical analysis. The results revealed that the problems in library management development of educational opportunity schools under Uttaradit Primary Educational Service Area Office 2 overall was as high as 82%. The problem ranked the highest was library activity followed by library service, library management, and library technical problems respectively. In terms of the guidelines for school library management development, overall the library technical problem had the highest possibility which suggested that schools should cooperate with other schools for technical operation, conduct a survey on information resources needs, and create an easy accessible system for all users. For library activity aspect, updated information searching system should be provided for library users. For library service aspect, adequate various audio-visual materials should be provided for users. In addition, for library management aspect, personnel should have training or study trips, and be constantly monitored and evaluated.
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและพัฒนาแนวทางการบริหารงานห้องสมุดโรงเรียนขยายโอกาสสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษา อุตรดิตถ์ เขต 2 ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากรของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 2 ทั้งหมดจำนวน 25 โรงเรียน ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 25 คน ครูวิชาการ จำนวน 50 คน และครูบรรณารักษ์ จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า สภาพและปัญหาการพัฒนาการบริหารงานห้องสมุดโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษา อุตรดิตถ์ เขต 2 โดยภาพรวมมีมากถึงร้อยละ 82.00 โดยส่วนใหญ่เป็นปัญหาด้านกิจกรรมห้องสมุด ปัญหาด้านบริการห้องสมุด ปัญหาด้านบริหารงานห้องสมุดและปัญหาด้านเทคนิคห้องสมุด ตามลำดับ สำหรับแนวทางการพัฒนาการบริหารห้องสมุดโรงเรียน ในภาพรวมมีความเป็นไปได้มากที่สุด คือ ด้านเทคนิคห้องสมุด ควรมีการประสานงานขอความร่วมมือในการปฏิบัติงานด้านเทคนิคจากห้องสมุดโรงเรียนอื่นและสำรวจความต้องการทรัพยากรสารสนเทศร่วมไปถึงการจัดสรรให้เป็นระบบทั่วถึงกับผู้ใช้ทุกคน ด้านกิจกรรมห้องสมุด ควรจัดหาระบบสืบค้นข้อมูลที่ทันสมัยเหมาะกับความต้องการของผู้ใช้บริการ ด้านบริการห้องสมุด ควรมีการจัดสื่อโสตทัศนวัสดุที่หลากหลายและเพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้ และด้านบริหารงานห้องสมุด ควรพัฒนาบุคลากรโดยการอบรมหรือศึกษาดูงานและมีการประเมินติดตามผลอย่างต่อเนื่อง
Description: Master of Education Program
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต
URI: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/85
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62551140109.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.