Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/76
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNarumon Kataen
dc.contributorนฤมล คาถาth
dc.contributor.advisorPhimphaka Thammasiten
dc.contributor.advisorพิมผกา ธรรมสิทธิ์th
dc.contributor.otherUttaradit Rajabhat University. faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-04-20T02:01:55Z-
dc.date.available2021-04-20T02:01:55Z-
dc.date.issued14/5/2021
dc.identifier.urihttp://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/76-
dc.descriptionMaster of Education Programen
dc.descriptionหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.description.abstractThe purpose of this research was to analyze image factors of opportunity expansion schools under Sukhothai Primary Educational Service Area Office 2. The population of this research was 37 school administrators and 632 teachers, 669 people in total. The sample selected by stratified random sampling was 37 school administrators and 263 teachers, 300 in total. The instruments used were a questionnaire and an interview form. The percentage and exploratory factor analysis were the parameters used for statistical analysis. The results revealed that the image factors of opportunity expansion schools under Sukhothai Primary Educational Service Area Office 2 consisted of 4 factors and included 30 variables. The total variance of all factors was 88.42 %. The variables and variance of the 4 factors namely, trust, faith, acceptance, perception and understanding were 10 and 40.95%, 7 and 25.22%, 7 and 13.49%, and 6 and 8.76% respectively. The first factor, trust, had the highest variance, which showed the most impact on the image of the opportunity expansion schools under Sukhothai Primary Educational Service Area Office 2.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบภาพลักษณ์โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 37 คน และครู จำนวน 632 คน รวมจำนวน 669 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 37 คน และครู จำนวน 263 คน รวม 300 คน โดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบภาพลักษณ์โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 มีทั้งหมด 4 องค์ประกอบ บรรยายด้วย 30 ตัวแปร ซึ่งทุกองค์ประกอบมีค่าร้อยละของความแปรปรวนสะสมเท่ากับ 88.42 โดยองค์ประกอบ ที่ 1 การได้รับความเชื่อถือ บรรยายด้วย 10 ตัวแปร ร้อยละของความแปรปรวนเท่ากับ 40.95 องค์ประกอบที่ 2 การได้รับความศรัทธา บรรยายด้วย 7 ตัวแปร ร้อยละของความแปรปรวนเท่ากับ 25.22 องค์ประกอบที่ 3 การยอมรับ บรรยายด้วย 7 ตัวแปร ร้อยละของความแปรปรวนเท่ากับ 13.49 และองค์ประกอบที่ 4 การรับรู้และเข้าใจ บรรยายด้วย 6 ตัวแปร ร้อยละของความแปรปรวนเท่ากับ 8.76 ทั้งนี้องค์ประกอบที่ 1 การได้รับความเชื่อถือ มีร้อยละของความแปรปรวนมากที่สุด แสดงว่าส่งผลต่อภาพลักษณ์โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 มากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherUttaradit Rajabhat University
dc.rightsUttaradit Rajabhat University
dc.subjectการวิเคราะห์องค์ประกอบth
dc.subjectภาพลักษณ์th
dc.subjectโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาth
dc.subjectFactor Analysisen
dc.subjectImageen
dc.subjectOpportunity Expansion Schoolsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleImage Factor Analysis of Opportunity Expansion Schools under Sukhothai Primary Educational Service Area Office 2en
dc.titleการวิเคราะห์องค์ประกอบภาพลักษณ์โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 2 th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58551140105.pdf5.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.