Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/61
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSunisa Sakunkuekunen
dc.contributorสุนิสา สกุลเกื้อกุลth
dc.contributor.advisorYokkaew Kamolvoradejen
dc.contributor.advisorหยกแก้ว กมลวรเดชth
dc.contributor.otherUttaradit Rajabhat University. faculty of Educationen
dc.date.accessioned2021-03-10T04:09:25Z-
dc.date.available2021-03-10T04:09:25Z-
dc.date.issued22/11/2020
dc.identifier.urihttp://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/61-
dc.descriptionMaster of Education Programen
dc.descriptionหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.description.abstractThe purposes of this research were to study problems and to develop an inclusive education model for schools in Nan Province. The population for the first purpose selected by purposive sampling method was 10 school administrators, 15 teachers, 15 academic teachers, 20 teachers who were responsible for inclusive education, and 10 parents, 70 people in total, from schools performing inclusive education under Nan Primary Educational Service Area Office 1. The population for the second purpose was 2 school administrators, 3 teachers who were responsible for inclusive education and 5 parents, 10 people in total. The instruments used were a questionnaire and a structured interview. The percentage, mean and standard deviation were the parameters used for statistical analysis. The results revealed that the problems of inclusive education in schools in Nan Province overall was at a high level. When considering each aspect separately, academic was ranked the highest followed by personnel, budget and environment respectively. Furthermore, the model development for inclusive education in the 4 aspects were as follows. For academic aspect, the programs should be adjusted as special programs to suit students with special needs. For personnel, teachers should be trained on special education management and students should be educated on children with special needs. For budget, schools should allocate sufficient budget for students and request support from other institutions. For environment, environment should be improved to facilitate students with special needs.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และการพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมสำหรับสถานศึกษาในจังหวัดน่าน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยของวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง คือ ผู้บริหารสถานศึกษา 10  คน ครูผู้สอน 15 คน ครูวิชาการ 15 คน ครูที่รับผิดชอบการเรียนร่วม 20 คน  และผู้ปกครอง 10 คน  รวม 70 คน จากโรงเรียนจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาน่านเขต 1 กลุ่มเป้าหมายของวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 คือ ผู้บริหารสถานศึกษา 2 คน ครูที่รับผิดชอบเรียนร่วม 3 คน ผู้ปกครอง 5 คน รวม 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัญหาของการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมสำหรับสถานศึกษาในจังหวัดน่าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาสภาพปัญหารายด้านทั้ง 4 ด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยสูงสุดจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านวิชาการ  มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณและด้านสภาพแวดล้อม ตามลำดับ ส่วนการพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาเรียนร่วมสำหรับสถานศึกษาในจังหวัดน่าน ทั้ง 4 ด้าน มีดังนี้ 1. ด้านวิชาการ ควรปรับหลักสูตรให้เหมาะสมกับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษเป็นหลักสูตรเฉพาะ 2. ด้านบุคลากร ควรจัดอบรมเรื่องการจัดการศึกษาพิเศษให้กับครูและให้ความรู้กับนักเรียนในเรื่องของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ 3.  ด้านงบประมาณ โรงเรียนจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอกับจำนวนนักเรียน ขอสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก 4. ด้านสภาพแวดล้อม ควรปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยความสะดวกให้เหมาะสมกับนักเรียนth
dc.language.isoth
dc.publisherUttaradit Rajabhat University
dc.rightsUttaradit Rajabhat University
dc.subjectการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมth
dc.subjectรูปแบบเรียนร่วมth
dc.subjectInclusive Education Managementen
dc.subjectInclusive Education Modelen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleInclusive Education Model for Schools in Nan Provinceen
dc.titleรูปแบบการจัดการศึกษาแบบเรียนร่วมสำหรับสถานศึกษาในจังหวัดน่านth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62551140114.pdf4.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.