Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/35
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorDuangporn Ammueangen
dc.contributorดวงพร อ่ำเมืองth
dc.contributor.advisorPasiri Khetpiyaraten
dc.contributor.advisorภาศิริ เขตปิยรัตน์th
dc.contributor.otherUttaradit Rajabhat University. faculty of Management Scienceen
dc.date.accessioned2020-06-11T04:05:12Z-
dc.date.available2020-06-11T04:05:12Z-
dc.date.issued10/5/2020
dc.identifier.urihttp://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/35-
dc.descriptionMaster of Business Administration Programen
dc.descriptionหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study integrated marketing communications on Government Savings Bank credit card applications, customer recognition, and integrated marketing communications that affect recognition of Government Savings Bank credit card application in Uttaradit. The population of this research was 2,758 clients who applied for Government Savings Bank credit cards in Uttaradit. The sample, selected by quota sampling and simple random sampling, was 349 clients who applied for Government Savings Bank credit cards in Uttaradit. The instruments used were questionnaires. The frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis were the parameters used for statistical analysis. The results revealed that overall, the opinion on integrated marketing communications is at a high level with the advertising factor at the highest level, followed by personal selling, while sale promotion is at the lowest level. Moreover, the factor affects customer recognition the most is selective retention followed by selective perception and interpretation, while the factor that affects customer recognition the least is selective attention. In addition, the hypothesis testing result shows that integrated marketing communications on sale promotion, personal communication, direct marketing communication and advertising affect recognition of Government Savings Bank credit card applications in Uttaradit statistically significant at 0.05.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการด้านการสมัครบัตรเครดิตของธนาคารออมสิน การรับรู้ของผู้สมัครบัตรเครดิตธนาคารออมสิน และการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่ส่งผลต่อการรับรู้ของผู้สมัครบัตรเครดิตธนาคารออมสินในจังหวัดอุตรดิตถ์ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้สมัครบัตรเครดิตธนาคารออมสินในจังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 2,758 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ผู้สมัครบัตรเครดิตธนาคารออมสินในจังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 349 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกำหนดสัดส่วนและอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า ความคิดเห็นด้านการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยการสื่อสารด้านการใช้ผลิตภัณฑ์เป็นสื่อมากที่สุด รองลงมา ด้านการขายโดยพนักงาน และด้านการส่งเสริมการขายน้อยที่สุด การรับรู้ของผู้สมัครบัตรเครดิตธนาคารออมสินพบว่าการรับรู้ด้านการเลือกจดจำมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการเลือกรับรู้และเลือกตีความหมาย ส่วนด้านการเลือกให้ความสนใจน้อยที่สุด ผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่าการสื่อสารการตลาดด้านการส่งเสริมการขาย  ด้านเครือข่ายการสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์  ด้านการตลาดทางตรง และด้านการใช้ผลิตภัณฑ์เป็นสื่อที่ส่งผลต่อการรับรู้ของผู้สมัครบัตรเครดิตธนาคารออมสินในจังหวัดอุตรดิตถ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th
dc.language.isoth
dc.publisherUttaradit Rajabhat University
dc.rightsUttaradit Rajabhat University
dc.subjectการตลาดแบบบูรณาการth
dc.subjectการรับรู้th
dc.subjectบัตรเครดิตth
dc.subjectIntegrated Marketing Communicationsen
dc.subjectRecognitionen
dc.subjectCredit Carden
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleIntegrated Marketing Communications that affect to recognition of Government Saving Bank credit card applicants in Uttaradit Provinceen
dc.titleการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ที่ส่งผลต่อการรับรู้ของผู้สมัครบัตรเครดิตธนาคารออมสินในจังหวัดอุตรดิตถ์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Management Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60553490111.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.