Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/20
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhakaphan Saengphromen
dc.contributorผกาพรรณ แสงพรหมth
dc.contributor.advisorWathanyu Khlibngoenen
dc.contributor.advisorวทัญญู ขลิบเงินth
dc.contributor.otherUttaradit Rajabhat University. faculty of Educationen
dc.date.accessioned2020-01-09T09:55:55Z-
dc.date.available2020-01-09T09:55:55Z-
dc.date.issued31/12/2019
dc.identifier.urihttp://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/20-
dc.descriptionMaster of Education Programen
dc.descriptionหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.description.abstractThe purposes of this research were to develop a learning plan in singing based on Zoltan Kodaly approach and Shinichi Suzuki method together with collaborative learning for Mathayomsuksa 5 students, to study the learning achievement before and after learning, and to investigate the student satisfaction. The target population was 30 Mathayomsuksa 5 students of Lablaepittayakom School in the first semester of 2019 academic year. The research instruments consisted of a learning plan, an achievement test, and a satisfaction questionnaire. The data were analyzed using percentage, mean, and standard deviation. The results reveal that the learning plan in singing based on Zoltan Kodaly approach and Shinichi Suzuki method together with collaborative learning comprises 8 plans with 16 hours of learning. Each plan follows four learning steps: Step 1 – preparation, listening, observation, and imitation; Step 2 – group activity, enhancing knowledge, and practice; Step 3 – checking results and testing; and Step 4 – lesson summary and group work. The appropriateness assessment of the learning plan is at the highest level while the learning achievement after learning is higher than that of before and the student satisfaction of the learning activities is at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้        ศึกษาผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้การขับร้อง โดยใช้แนวคิดของโซลตาน โคดาย และชินอิจิ ซูซูกิ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ประชากรเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 30 คน โรงเรียนลับแลพิทยาคม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า แผนการจัดการเรียนรู้การขับร้อง โดยใช้แนวคิดของโซลตาน โคดาย และชินอิจิ ซูซูกิ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ทั้งหมด 8 แผน รวม 16 ชั่วโมง แต่ละแผน มีขั้นตอนการจัดการเรียน 4 ขั้น ได้แก่ ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียม การฟัง การสังเกต              และการเลียนแบบ ขั้นที่ 2 ขั้นกิจกรรมกลุ่ม เสริมความรู้ และการปฏิบัติ ขั้นที่ 3 ขั้นตรวจสอบผลงานและทดสอบ ขั้นที่ 4 ขั้นสรุปบทเรียนและการทำงานกลุ่ม ผลการประเมินความเหมาะสม ของแผนการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherUttaradit Rajabhat University
dc.rightsUttaradit Rajabhat University
dc.subjectการขับร้องth
dc.subjectโซลตาน โคดายth
dc.subjectชินอิจิ ซูซูกิth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือth
dc.subjectSingingen
dc.subjectZoltan Kodalyen
dc.subjectShinichi Suzukien
dc.subjectCollaborative Learningen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleLearning Achievement of Singing Based on Zoltan Kodaly Approach and Shinichi Suzuki Method together with Collaborative Learning for Mathayomsuksa 5 Studentsen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้การขับร้อง โดยใช้แนวคิดของ โซลตาน โคดาย และ ชินอิจิ ซูซูกิ ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60551101128.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.