Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWilaiwan Phoosritheten
dc.contributorวิไลวรรณ ภูศรีเทศth
dc.contributor.advisorSaranyoo Ruanjanen
dc.contributor.advisorศรัณยู เรือนจันทร์th
dc.contributor.otherUttaradit Rajabhat University. faculty of Science and Technologyen
dc.date.accessioned2023-02-03T07:12:33Z-
dc.date.available2023-02-03T07:12:33Z-
dc.date.issued31/12/2021
dc.identifier.urihttp://202.29.52.112/dspace/handle/123456789/177-
dc.descriptionMaster of Public Health Programen
dc.descriptionหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.description.abstractThis quasi-experimental research aimed to compare knowledge, perceived severity, perceived susceptibility, and outcome expectancy on hypertension of patients with hypertension before and after participation in a health behavior modification program; and to compare self-care behaviors and blood pressure levels of the patients before and after participating in the program. The population was 171 hypertension patients in Na-in Sub-district Promoting Hospital's responsible area aged 35-39 years. The sample comprised of 30 hypertension patients aged 35–39 years in the area obtained by simple random sampling. The instruments used were a questionnaire, health behavior modification program, and a blood pressure record form. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. The results revealed that the control group had significantly higher knowledge of hypertension control after participating in the program (t =-9.777, p.001); significantly higher perceived severity, perceived susceptibility, and outcome expectancy on hypertension (t =-8.620, p.001); and significantly higher self-care behaviors (t =-10.061, p.001), which resulted in better systolic and diastolic blood pressure.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบความรู้ การรับรู้ความรุนแรงของโรค  การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค และความคาดหวังในผลลัพธ์ เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังการได้รับโปรแกรม 2) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเอง และระดับค่าความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ก่อนและหลังการได้รับโปรแกรม โดยทำการศึกษาระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2564 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีอายุ 35 – 59 ปี ของตำบลนาอิน อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 30 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแบบสอบถามที่ประยุกต์จากทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อการป้องกันโรคร่วมกับทฤษฎีการดูแลตนเอง เพื่อนำมาออกแบบ โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แบบสอบถาม และแบบบันทึกค่าระดับความดันโลหิต ซึ่งได้ทดสอบค่าดัชนีความสอดคล้องของจุดประสงค์และเนื้อหา มีค่าระหว่าง 0.67-1.00 และได้ทดสอบความเชื่อมั่น มีค่าระหว่าง 0.70-0.86 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา เช่น ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังโดยใช้สถิติ Paired t-test ผลการวิจัย พบว่า 1) ภายหลังการได้รับโปรแกรม กลุ่มทดลองมีความรู้เกี่ยวกับการควบคุมระดับความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=-9.777, p < .001) และการรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค และความคาดหวังในประสิทธิผล เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=-8.620, p < .001)  2) ภายหลังการได้รับโปรแกรม กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเอง เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=-10.061, p < .001) ซึ่งส่งผลให้กลุ่มทดลองมีระดับค่าความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัวและขณะหัวใจคลายตัว ลดลงอยู่ในระดับที่ดีขึ้น  th
dc.language.isoth
dc.publisherUttaradit Rajabhat University
dc.rightsUttaradit Rajabhat University
dc.subjectการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพth
dc.subjectการควบคุมระดับความดันโลหิตสูงth
dc.subjectผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงth
dc.subjectHealth Modification Behaviorsen
dc.subjectBlood Pressure Controlen
dc.subjectPatients with Hypertensionen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleThe effect of health behavior modification program for hypertension controlling  among patients Na-In Subdistrict, Phichai District, Uttaradit Province en
dc.titleผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  ต่อการควบคุมระดับความดันโลหิตสูงในผู้ป่วย ตำบลนาอิน  อำเภอพิชัย  จังหวัดอุตรดิตถ์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Faculty of Sciences and Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61552790106.pdf3.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.